ปัจจุบันคนจำนวนไม่น้อยที่ประสบกับปัญหาของโรค Motion Sickness ซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้กับทุกเพศทุกวัย อาการของโรค คือ การเมาภาพเคลื่อนไหว หรือบางคนอาจจะเข้าใจว่าคล้ายกับอาการของคนเมารถ สามารถเกิดขึ้นได้ตลอดเวลาโดยไม่มีแม้สัญญาณแจ้งเตือน คนที่มีภาวะเป็นโรคนี้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และยิ่งมีโอกาสเกิดขึ้นได้สูง เพราะปัจจุบันมีเกมจำนวนมาก ที่ใช้มุมมองภาพของบุคคลที่สาม เช่น เกมจำพวก FPS หรือ เกม VR
คนที่เล่นเกมอาการจะรุนแรงได้ถึงขั้นไหน?
เมื่ออาการ Motion sickness เกิดขึ้นกับผู้ที่ป่วยมีภาวะของโรคอยู่แล้ว จะมีอาการไม่สบายเนื้อไม่สบายตัว เหงื่อออก หน้าซีด น้ำลายไหลออกมามากกว่าปกติ กระหายน้ำ เวียนหัวคลื้นไส้อาเจียน แต่ละคนจะรู้สึกถึงความรุนแรงของอาการต่างกัน แต่เมื่อพูดถึงปัญหาของคนที่เล่นเกมแนว First Person Shooting (FPS) หรือ เกมประเภทที่มีมุมมองบุคคลที่1 – บุคคลที่ 3 และเกมประเภท VR
เกมประเภทนี้ส่วนใหญ่ตัวละครจะเคลื่อนที่อย่างรวดเร็ว ภาพเคลื่อนไหวสิ่งที่ปรากฎให้เราเห็นในเกม สมองจะไม่ทำการเชื่อมต่อถึงข้อมูลของหูชั้นใน เพราะสมองกำลังจดจำภาพที่อยู่บนหน้าจอ และคิดว่าตัวเรานั้นกำลังเคลื่อนไหวอยู่จริง แต่หูชั้นในตรวจจับได้ว่าเราไม่มีการเคลื่อนไหวใดๆทั้งสิ้น เลยทำการส่งต่อข้อมูลให้กับสมอง มันจึงเกิดความขัดแย้งทางประสาทสัมผัส (Sensory Conflict)
ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นนั้น จึงทำให้สมองของเราเข้าใจว่าร่างกายกำลังเกิดพิษ จึงพยายามขับพิษนั้นที่ไม่มีอยู่จริง ออกมาทางสารคัดหลั่ง อาจจะมีการขับออกทางเหงื่อ ไปจนถึงอาเจียน และทำให้เกิดอาการ Motion sicknees รุนแรงขึ้น เป็นอาการเดียวกันกับการเมารถหรือเมาเรือ นั่นเอง
Motion sicknees ทำไมเกิดขึ้นกับแค่บางคน?
ศูนย์วิชาการทางการแพทย์ชื่อดังในประเทศสหรัฐฯ cleveland clinic เผยว่าอัตราการเกิดโรคนี้นั้นมักเกิดขึ้นในผู้หญิง รวมถึงเด็กอายุ 2-12 ปี แต่อย่างไรก็ตามยังมีการยืนยันว่าสามารถเกิดโรค Motion Sickness ได้กับทุกคน ยังมีปัจจัยมากมายที่มีโอกาสทำให้เกิดโรคดังกล่าว ยกตัวอย่างเช่น พันธุกรรมของคนในครอบครัวเคยมีอาการเมาภาพเคลื่อนไหวมาก่อน รวมถึงเมารถหรือเมาเรือ กระทั่งความผิดปกติของหูชั้น ไปจนถึงมีประวัติเคยเป็นไมเกรน เป็นต้น
ผลกระทบจากการเล่นเกม
โดยเฉพาะเนื้อเรื่องของเกมในหลายๆเกมนั้น ก็เป็นตัวแปรสำคัญที่ทำให้ผู้เล่นเกิดอาการมากกว่าเดิม อย่างเช่นในเกมแอคชั่นที่มีเนื้อเรื่อง ภาพเคลื่อนไหวต่างๆและสถานการณ์ในเกมที่บีบคั้น สิ่งที่ตามมาจากเกมลักษณะนี้ ยังเป็นมุมกล้องที่เคลื่อนไหวเร็วกว่าปกติ มีมุมมองภาพที่จำกัด ทำให้ต้องมองไปรอบๆจนเกิดอาการเวียนหัวขึ้นมาอีก
จะรักษาอาการ Motion Sickness ยังไง?
ปัจจุบันยังไม่มีวิธีรักษาอาการ Motion Sickness ให้หายขาด มีแต่เพียงการหลีกเลี่ยง และการป้องกันเท่านั้น ผู้ที่ต้องเล่นเกมอยู่เป็นประจำ หรือคนที่ติดเกมมากๆ ควรหาวิธีปรับตัวเพื่อที่จะอยู่กับโรคนี้ให้ได้ ตัวอย่าง เช่น
- ใช้เวลาให้น้อยลงกับเล่นเกมที่เล่นอยู่ประจำแล้วเกิดอาการเวียนหัว
- พักสายตาจากเกมเป็นช่วงๆ
- รักษาระยะห่างจากหน้าจอคอมพิวเตอร์ หรือ มือถือ ให้อยู่ในระดับที่พอเหมาะ
- อยู่ในสถานที่โล่งโปร่ง อากาศถ่ายเทสะดวก และ มีแสงสว่างเพียงพอ
- ทำให้ร่างกายได้สัมผัสความเย็น ดื่มน้ำเย็น เมื่อมีอาการ เป็นต้น
- เมื่อมีอาการอาจจะใช้ยาร่วมด้วยเพื่อบรรเทาอาการ เช่น ยากลุ่มที่แก้อาการเมารถ ยาที่แก้อาการคลื่นไส้อาเจียน
บทสรุป
จากบทความนี้เห็นได้ชัดว่าเราสามารถจัดสรรเวลาการเล่นเกมให้เหมาะสมได้ เพื่อไม่ให้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ไม่ว่าจะเป็นคนที่ชอบเล่นเกม หรือแม้แต่นักพนันออนไลน์ ที่ต้องหน้าจอบ่อยครั้ง ควรรู้ขีดจำกัดของตนเอง แบ่งเวลาการเล่น การพักผ่อนนอนหลับ แล้วมาสร้างประโยชน์สูงสุดจากความบันเทิงของเกม ด้วยการเลือกเล่นเกมที่เหมาะสมและสามารถสร้างรายได้ให้กับคุณได้จริง
โดยเลือกเกมที่มีระบบที่ดี ภาพสวยคมชัดไม่ทำให้ปวดหัว ในเว็บเราที่ Lucagame168 มีเกมให้เลือกเล่นมากถึง 2,000 เกม เปิดบริการตลอด 24 ชั่วโมง สามารถเลือกเวลาทำเงินกันได้ตามถนัด จะเข้ามาเล่นเวลาไหนก็ได้ อีกทั้งเรายังมีคาสิโนสด เกมกีฬา เกมยิงปลา เกมสล็อต รูเร็ต Sicbo เกมไฮโล น้ำเต้าปูปลา และรายการหวยทุกประเภท
Lucagame168 แจ็คพอตแตกง่าย จ่ายจริง จ่ายไม่ยั้ง อัตราการชนะสูง ไม่ต้องเป็นกังวลสำหรับผู้เริ่มต้นสามารถทดลองเล่นในโหมดทดลองเล่นได้ก่อน สมัครเลยตอนนี้ พร้อมรับโปรโมชั่นมากมายที่มีแจกตลอดทั้งวัน